ตั้งแต่ปี 2020 เป็นต้นมาเราได้เห็นภาพของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของธุรกิจการเงิน แล้วทำไมธนาคารหรือสถาบันการเงินแบบดั้งเดิมถึงตัดสินใจมุ่งเข้าหาสกุลเงินดิจิทัล
เมื่อพูดถึง บิทคอยน์ (Bitcoin) หลายคนอาจคิดแค่ว่ามันเป็นเครื่องมือทำกำไรระยะสั้น จนไม่อาจมองเห็นและรับรู้ถึงจุดประสงค์หลักว่าจริง ๆ แล้วบิทคอยน์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่ออะไร
การที่นักลงทุนสถาบันเข้ามาในตลาดสินทรัพย์ดิจิทัล มองมุมไหนก็มีแต่ข้อดีมากกว่าข้อเสีย ไม่ว่าจะเป็นการเข้ามาทำให้ราคามีเสถียรภาพมากขึ้นรวมถึงทำให้นักลงทุนที่ยังอยู่มุมนอกมีความเชื่อมั่นมากขึ้น
ปัญหายุคใหม่ก็จำเป็นต้องใช้เทคโนโลยียุคใหม่มาจัดการ และในตอนนี้ดูเหมือนจะไม่มีอะไรเหมาะสมไปมากกว่าเทคโนโลยีที่มีความโปร่งใสและปลอดภัยสูงอย่างบล็อกเชนอีกแล้ว
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อาจจะไม่ใช่ผู้คุมกฎแต่ก็จะเรียกได้ว่าเป็นผู้จัดการแข่งขันก็คงไม่ผิดเพี้ยน การลงมาเล่นในสนามเองอาจเป็นอุปสรรคต่อธุรกิจสตาร์ทอัพในการที่จะแข่งขันและสร้างนวัตรกรรมใหม่ๆ
ในสัปดาห์ที่ผ่านมาวงการ DeFi ต้องเจอกับความเงียบเหงาเหมือนกรุงเทพในวันสงกรานต์ หลาย ๆ โปรเจกต์ที่เคยฮอตในเดือนก่อนหน้ากลับถูกเทขายกลายเป็นสีแดง
ความขัดแย้งด้านเทคโนโลยีระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกาที่กำลังร้อนแรงอยู่ขณะนี้ ทั้งการสั่งแบนเทคโนโลยีของจีนจากสหรัฐ และการที่จีนชิงเปิดตัวสกุลเงินดิจิทัลก่อนสหรัฐฯกำลังบอกอะไรเรา
หนึ่งในปัญหาที่ภาครัฐทั่วโลกต้องเจอก็คือ การแจกจ่ายทรัพยากรหรือ “งบ” ให้แก่หน่วยงานในภาคส่วนต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพนั้นเป็นไปได้ยากไม่ตรงจุด ระบบการเก็บข้อมูลที่ล้าหลังและตรวจสอบได้ยากมักจะนำมาซึ่งช่องโหว่เปิดให้มีการทุจริตเกิดขึ้น
โมเดลบิทคอยน์ Stock-to-Flow (S2F) Deflection ซึ่งเป็นการคำนวนสัดส่วนระหว่างราคาบิทคอยน์ ณ ปัจจุบันกับราคาตามเป้าของโมเดล S2F ได้ร่วงลงต่ำสุดในรอบ 5 เดือนไปอยู่ที่ 0.596
Yield Farming ในโลก DeFi นวัตรกรรมการเงินหรือแชร์ลูกโซ่ยุคดิจิทัล ด้วยการชูผลตอบแทนที่สูงลิบลิ่วในขณะที่ดอกเบี้ยเงินฝากต่ำเตี้ยติดดิน